Tuesday, October 21, 2008

เปิดโลกมหัศจรรย์กับเกมการศึกษา

ชื่อโครงการ/ กิจกรรม เปิดโลกมหัศจรรย์กับเกมการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ นางสาวเพียงรวี จันทร์ไทย

.............................................................................................................................................................
1. หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันผู้ทรงความรู้ด้านต่าง ๆ เป็นต้นว่า นักจิตวิทยา จิตแพทย์และนักการศึกษา ได้
ทำการศึกษาค้นคว้ากับเด็กมากขึ้น และพยายามเผยแพร่ความรู้เรื่องเด็กไปยังพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูและบุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับเด็กให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้บุคคลทำหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเด็กเหล่านี้ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเด็ก เพื่อช่วยให้เด็กได้เจริญเติบโตขึ้นเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ เป็นกำลังของสังคมและประเทศชาติต่อไป
สิ่งที่จำเป็นในการสอนเด็กวัยก่อนเรียน คือ สื่อการเรียน เพราะการสอนเด็กในวัยนี้ จะใช้วิธีการสอนแบบเล่นปนเรียน เด็กจะสนุกที่ได้เล่น แต่ในขณะเดียวกันก็ได้ความรู้ไปด้วยพร้อมกัน นอกจากนั้น เด็กวัยนี้ยังขาดประสบการณ์ ต้องเรียนรู้จากรูปธรรม จากการได้สัมผัสจับต้อง ได้เห็น ได้ทำด้วยตนเอง จึงจะเกิดความเข้าใจ ดังนั้นสื่อการเรียน จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นมากสำหรับการสอนระดับนี้
เกมการศึกษา เป็นกิจกรรมชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญยิ่งต่อการช่วยส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ ฝึกทักษะและช่วยให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งที่เรียน นอกจากนี้ยังช่วยฝึกการแก้ปัญหา การคิดหาเหตุผล การสังเกตเปรียบเทียบ การจำแนก การจัดหมวดหมู่ อันเป็นทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้วย (สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.2541:145. ) ซึ่งสอดคล้องกับ พัฒนา ชัชพงศ์ (2530:20) ที่กล่าวว่า กิจกรรมเกมการศึกษาช่วยฝึกการสังเกต และคิดหาเหตุผล ฝึกการแยกประเภทและจัดหมวดหมู่ ฝึกการจัดลำดับ ฝึกความพร้อมในการเรียนสัญลักษณ์ทางภาษาและคณิตศาสตร์ เป็นการทบทวนเนื้อหาที่เรียน และฝึกความรับผิดชอบ

2. วัตถุประสงค์
1. นักเรียนสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะเล่นเกมการศึกษาได้
2. นักเรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสระหว่างตา กับ มือในการเล่นเกมการศึกษาได้
3. นักเรียนสามารถมีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเองขณะเล่นเกมการศึกษาได้
4. นักเรียนสามารถเล่นเกมการศึกษาร่วมกับผู้อื่นได้
5. ผู้ปกครองสามารถมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเล่นเกมการศึกษาได้
6. ผู้ปกครองสามารถตระหนักถึงความสำคัญของเกมการศึกษาได้
7. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถมีส่วนร่วมในการเล่นเกมการศึกษาได้

3. ผลผลิตที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ :
ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นอนุบาล
เป้าหมาย :
ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ :
พัฒนาด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และ ด้านสติปัญญาของเด็ก
ความรู้ความเข้าใจของผู้ปกครอง
เป้าหมาย:
1. นักเรียนสามารถตัดสินใจและ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะเล่นเกมการศึกษาได้
2. นักเรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัส
ระหว่างตา กับ มือในการเล่นเกมการศึกษาได้
3. นักเรียนสามารถมีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเองขณะเล่นเกมการศึกษาได้
4. นักเรียนสามารถเล่นเกมการศึกษา
ร่วมกับผู้อื่นได้
5. ผู้ปกครองสามารถมีความรู้ความเข้าใจ
วิธีการเล่นเกมการศึกษาได้
6. ผู้ปกครองสามารถตระหนักถึง
ความสำคัญของเกมการศึกษาได้
7. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถมีส่วนร่วมในการเล่นเกมการศึกษาได้
ตัวชี้วัดเชิงเวลา :
ปีการศึกษา 2551 ภาคเรียนที่ 2 ตั้งแต่วันจันทร์ ถึงวันศุกร์ 2 ช่วงเวลา ได้แก่
1. ช่วงเวลานักเรียนเล่นเองอย่างอิสระ
เวลา 11.00-12.00 น.
2. ช่วงเวลานักเรียนและผู้ปกครองเล่นร่วมกันเวลา 15.00-16.00 น.
เป้าหมาย:
นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 20 ครั้งต่อ 1 ภาคเรียน
ครั้งละ 1 ชั่วโมง ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรม 20 ครั้งต่อ 1 ภาคเรียนครั้งละ 1 ชั่วโมง
ตัวชี้วัดเชิงต้นทุน :
1. สื่อเกมการศึกษา
2. สมุดบันทึกการใช้สื่อ
3. สมุดลงชื่อการเข้าใช้ สื่อเกมการศึกษา
4. สมุดยืม - คืนเกมการศึกษา
เป้าหมาย:
1. สื่อเกมการศึกษา 8 ประเภท ได้แก่
1.1 เกมจับคู่ภาพเหมือน 10 ชุด
1.2 เกมโดมิโน 10 ชุด
1.3 ภาพตัดต่อ 10 ชุด
1.4 ภาพสัมพันธ์ 10 ชุด
1.5 ลอตโต 10 ชุด
1.6 เกมเรียงลำดับภาพเหตุการณ์ 10 ชุด
1.7 พื้นฐานการบวก 10 ชุด
1.8 เกมตารางสัมพันธ์ 10 ชุด
2. สมุดบันทึกการใช้สื่อ 150 เล่มตามจำนวนเด็ก
3. สมุดลงชื่อการเข้าใช้ สื่อเกมการศึกษา 1 เล่มสมุดยืม – คืนเกมการศึกษา 1 เล่ม
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ :
1. ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการเล่นเกมการศึกษาของนักเรียน
2. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมใน 1 ภาคเรียน
เป้าหมาย :
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการเล่นเกมการศึกษาในระดับดี
2. จำนวนผู้เข้าใช้ใน 1 ภาคเรียนได้แก่
นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
ผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 65

4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะเล่นเกมการศึกษาได้
2. นักเรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสระหว่างตา กับ มือในการเล่นเกมการศึกษาได้
3. นักเรียนสามารถมีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเองขณะเล่นเกมการศึกษาได้
4. นักเรียนสามารถเล่นเกมการศึกษาร่วมกับผู้อื่นได้
5. ผู้ปกครองสามารถมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเล่นเกมการศึกษาได้
6. ผู้ปกครองสามารถตระหนักถึงความสำคัญของเกมการศึกษาได้
7. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถมีส่วนร่วมในการเล่นเกมการศึกษาได้

5. ผลการดำเนินงาน
ผลผลิต
1. นักเรียนและผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
2. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถยืมสื่ออุปกรณ์ไปใช้เล่นกับลูกที่บ้านได้
ผลลัพธ์
1. นักเรียนสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะเล่นเกมการศึกษาได้
2. นักเรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสระหว่างตา กับ มือในการเล่นเกมการศึกษาได้
3. นักเรียนสามารถมีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเองขณะเล่นเกมการศึกษาได้
4. นักเรียนสามารถเล่นเกมการศึกษาร่วมกับผู้อื่นได้
5. ผู้ปกครองสามารถมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเล่นเกมการศึกษาได้
6. ผู้ปกครองสามารถตระหนักถึงความสำคัญของเกมการศึกษาได้
7. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถมีส่วนร่วมในการเล่นเกมการศึกษาได้
ผลกระทบ
1. หากการดำเนินโครงการในครั้งนี้เป็นที่น่าพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครอง ในการจัดโครงการครั้งต่อไปจะต้องเลือกสื่อที่มีความหลากหลาย
2 . ผลิตสื่อให้มีความเพียงพอและสอดคล้องต่อความต้องการของนักเรียนและผู้ปกครอง

6. วิธีการติดตามประเมินผลและรายงานผล
1. การสังเกตและจดบันทึกเหตุการณ์
2. การสะท้อนภาพถ่าย
3. สมุดบันทึกการใช้เกมการศึกษารายบุคคล
4. สมุดยืม- คืนเกมการศึกษา
5. สมุดลงชื่อผู้ใช้เกมการศึกษา

การจัดประสบการณ์หน่วยปลา สัปดาห์ที่ 3


ภาพที่ 1 เด็ก ๆ ลงมือทำสลัดทูน่าและแซนวิสทูน่าหลังจากสังเกตคุณครูสาธิตวิธีการทำแล้ว




ภาพที่ 2 เด็ก ๆชิมรสชาติอาหารที่ตนเองลงมือทำ และบอกรสชาติของอาหาร สังเกตลักษณะของเนื้อปลาทูน่าผักที่นำมาใช้




ภาพที่ 3 เด็ก ๆเล่นน้ำในกิจกรรมกลางแจ้ง















ภาพที่ 4 เกมจับคู่ภาพเหมือน














ภาพที่ 5 เกมภาพตัดต่อปลา











วันที่ 1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
4. เด็กเคลื่อนไหวตามคำบรรยายได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวร่างกายเดินสลับเท้าไปรอบ ๆ ห้องตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการโดยฟังคำบรรยายจากครู
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกชนิดของปลาได้
4. เด็กสังเกตและบอกชื่อของปลาได้
5. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาลักษณะที่อยู่อาศัยและปลาชนิดต่าง ๆ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กทบทวนการระดมความคิดในเรื่องที่สนใจ
“หัวข้อที่เราสนใจคือเรื่องอะไร”
“เด็ก ๆ ต้องการเพิ่มเติมส่วนไหน อยากรู้อะไรเพิ่มเติม และเพราะอะไร”
3. ครูนำนำหนังสือ รอบรู้ท้องทะเล
“ เด็ก ๆสังเกตเห็นอะไรในหนังสือบ้าง”
“เด็ก ๆ คิดว่าปลาเหล่านี้อาศัยอยู่ที่เดียวกันหรือไม่”
4. เด็ก ๆสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
สื่อการเรียนรู้
หนังสือรอบรู้ท้องทะเล
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการบอกชนิดของปลา
4. สังเกตการสังเกตและบอกชื่อของปลา
5. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด
5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ การใช้หลอดเป่าสี
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ การใช้หลอดสำหรับเป่าสี
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมวิทยาศาสตร์คือ ก้อนหินขนาดต่าง ๆ
มุมศิลปะคือ หลอดเป่าสี และมุมเกมการศึกษาคือ เกมโยงภาพปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเล่นสนาม
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมโยงภาพปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมโยงภาพปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 2 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
4. เด็กเคลื่อนไหวเลียนแบบการว่ายน้ำของปลาได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวเลียนแบบการว่ายน้ำของปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวเดินซิกแซกไปข้างหน้า ตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน เคาะจังหวะ หนัก- เบา
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการแสดงท่าทางการว่ายน้ำของปลา
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ซีดีเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางกรว่ายน้ำของปลา

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกรสชาดของปลาทูน่าได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับหน้าที่สำคัญของอวัยวะส่วนต่าง ๆของปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เด็กอยากรู้
“ปลาทูน่ามีลักษณะอย่างไร”
“มีใครเคยรับประทานปลาทูน่าบ้าง รสชาติเป็นอย่างไร”
3. เด็กสังเกตเนื้อปลาทูน่ากระป๋องแล้วบอกลักษณะที่พบเห็น
“เนื้อปลาทูน่ามีลักษณะอย่างไร”
4. เด็กชิมรสปลาทูน่าแล้วสนทนาแสดงความคิดเห็น
5. เด็กและครูวางแผนร่วมกันในการประกอบอาหาร
สื่อการเรียนรู้
1. ปลาทูน่ากระป๋อง
2. แผ่นวางแผนการประกอบอาหาร
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครูได้
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. สังเกตการบอกรสชาติของปลาทูน่าได้
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด
5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ การปะติดเมล็ดพืช
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ นำเมล็ดพืชติดลงบนกระดาษ
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมอ่านคือ หนังสือรอบรู้ท้องทะเล
มุมศิลปะคือ เมล็ดพืช และมุมเกมการศึกษาคือ เกมอนุกรมปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
- จับคู่ลำเลียงลูกบอลด้วยผ้า
- เด็กจับมือกันเป็นวงกลม ส่งบอลด้วยผ้า
- เด็กเวียนส่งบอลด้วยผ้าไปทางขวามือ
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
สื่อการเรียนรู้
1. ผ้า
2. ลูกบอล
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมอนุกรมปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมอนุกรมปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 3 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวเดินรอบๆ ห้องตามการเคาะ
จังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
เคาะจังหวะ ช้า -เร็ว
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการ
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กสืบค้นข้อมูลแล้วนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียนได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การนำเสนอการสืบค้นรายการอาหารที่ทำจากปลาทูน่า
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็ก ๆ เสนอความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นในหัวข้อ การหาข้อมูลรายการอาหารที่ทำจากปลาทูน่า
“ เด็ก ๆช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายการอาหาร”
“ ปลาทูน่าทำอาหารอะไรได้บ้าง”
“เด็ก ๆ ทราบว่าปลาทำอาหารได้จากใคร”
3. ครูนำเสนอภาพรายการอาหารที่ทำจากปลาทูน่ากับเด็ก ๆ
4. เด็ก ๆ เลือกทำอาหารจากปลาทูน่า จากรายการอาหารที่ครูนำเสนอแล้วตนเองสนใจ
สื่อการเรียนรู้
ภาพรายการอาหารที่ทำจากปลาทูน่า
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการสืบค้นข้อมูลแล้วนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด กิจกรรมใหม่ คือ การปะติดเมล็ดถั่วเหลือง
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ การปะติดเมล็ดถั่วเหลือง
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมบ้าน คือ ภาพรายการอาหารที่ทำจากปลาทูน่า
มุมศิลปะคือ ปะติดเมล็ดถั่วเหลือง และมุมเกมการศึกษาคือ เกมทอยลูกเต๋าปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเล่นสนาม
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมทอยลูกเต๋าปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
5. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
6. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
7. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมทอยลูกเต๋าปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้


วันที่ 4 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวร่างกายเดินหมุนตัวไปรอบ ๆ ห้องตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการ
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกวัตถุดิบของการทำสลัดและแซนวิสทูน่าได้
4. เด็กปรุงอาหารด้วยตนเองได้
5. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การประกอบอาหารที่ทำจากปลาทูน่า
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็ก ๆ และครูทบทวนอุปกรณ์สำหรับการปะกอบอาหารร่วมกัน
“อุปกรณ์มีอะไรบ้าง”
“มีขั้นตอนการทำอย่างไร”
3. ครูสาธิตวิธีการประกอบอาหารให้เด็กดูเป็นตัวอย่าง
4. เด็ก ๆ ประกอบอาหารที่ทำจากปลาทูน่าด้วยตนเอง
“ รสชาติของสลัดเป็นอย่างไร”
“รสชาติของแซนวิสเป็นอย่างไร”
5. เด็ก ๆ นำรายการอาหารที่ทำในวันนี้ไปฝากคุณพ่อคุณแม่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์สำหรับประกอบอาหารสลัดทูน่าและแซนวิสทูน่า
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
3. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
4. สังเกตการบอกวัตถุดิบของการทำสลัดและแซนวิสทูน่า
5. สังเกตการปรุงอาหารด้วยตนเอง
6. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด
5. กิจกรรมร้อยลูกปัด กิจกรรมใหม่ คือ ระบายสีด้วยหมึกจีน
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ ระบายสีด้วยหมึกจีน
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการณ์ช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมศิลปะคือ ระบายสีด้วยหมึกจีน และมุมเกมการศึกษาคือ เกมจับคู่ความสัมพันธ์ภาพปลากับคำ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมตักน้ำใส่ขวด
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมตักน้ำใส่ขวด
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเกมตักน้ำใส่ขวด
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเกมตักน้ำใส่ขวด
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมตักน้ำใส่ขวด
- เด็กเข้าแถวเป็น 2 กลุ่ม
- วิ่งผลัดเปลี่ยนกันเติมน้ำให้เต็ม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
สื่อการเรียนรู้
1. แก้วน้ำขนาดเล็ก
2. ขวดน้ำ
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกมตักน้ำใส่ขวด
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมตักน้ำใส่ขวด
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมจับคู่ความสัมพันธ์ภาพปลากับคำ
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมจับคู่ความสัมพันธ์ภาพปลากับคำ
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 5 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวหมุนตัวอยู่กับที่ ตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการ
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกลักษณะของตัวละครปลาทองผู้เย่อหยิ่งได้
4. เด็กทบทวนเรื่องราวของนิทานได้
5. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาลักษณะภายนอกของปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำหนังสือนิทานเรื่อง ปลาทองผู้เย่อหยิ่ง
3. เด็ก ๆ สังเกตหน้าปกหนังสือ สังเกตคำ การเปิดหนังสือ
4. เด็กฟังนิทานเรื่องปลาทองผู้เย่อหยิ่งแล้วทบทวนเรื่องราวอีกครั้ง
“ ตัวละครที่เด็ก ๆ ชื่นชอบคือตัวละครใด เพราะเหตุใด”
“ปลาทองมีลักษณะอย่างไร”
สื่อการเรียนรู้
ภาพลักษณะทั่วไปของปลา
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการบอกลักษณะของตัวละครปลาทองผู้เย่อหยิ่ง
4. สังเกตการณ์ทบทวนเรื่องราวของนิทาน
5. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด
5. กิจกรรมร้อยลูกปัด กิจกรรมใหม่ คือ ปะติดเกลือสี
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือปะติดเกลือสี
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมอ่านคือ นิทานปลาทองผู้เย่อหยิ่ง
มุมศิลปะคือ เกลือสี และมุมเกมการศึกษาคือ เกมโยงภาพปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมเตะบอลส่งให้เพื่อน
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเตะบอลส่งให้เพื่อน
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเตะบอลส่งให้เพื่อน
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเตะบอลส่งให้เพื่อน
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเตะบอลส่งให้เพื่อน
- แบ่งกลุ่ม 2 กลุ่ม
- และกลุ่มเตะบอลลำเลียงส่งให้เพื่อนจากคนแรกจนถึงคนสุดท้าย
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
สื่อการเรียนรู้
ลูกบอล
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเตะบอลส่งให้เพื่อน
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเตะบอลส่งให้เพื่อน
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมต่อภาพปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมต่อภาพปลา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

Monday, October 20, 2008

การจัดประสบการณ์ หน่วยต้นไม้ สัปดาห์ที่ 10






















ภาพที่ 1 เด็ก ๆ เดินสำรวจ ต้นไม้ที่ตนเองรู้จัก รอบ ๆ บริเวณโรงเรียน เด็ก ๆ เดินเป็นแถวสังเกตสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน



ภาพที่ 2 เด็ก ๆเลือกสังเกตลักษณะของเปลือกไม้ ของต้นไม้ชนิดที่เด็ก ๆรู้จัก เช่น ต้นหางนกยูง ต้นนนทรี แรเงาลักษณะของเปลือกไม้ด้วยสีเทียน



ภาพที่ 3 เด็ก ๆ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง มีการสนทนาพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน



ภาพที่ 4 เกมร้อยเชือกตามรูปทรงของต้นไม้


ภาพที่ 5 เกมต่อชิ้นส่วนที่หายไป


วันที่ 1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
4. เด็กเคลื่อนไหวแสดงสีหน้าท่าทางได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวแสดงสีหน้าท่าทาง
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวร่างกายหมุนตัวตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการแสดงสีหน้าท่าทาง
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวแสดงสีหน้าท่าทาง

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกลักษณะของตัวละครนิทานพระราชาบนดาวสีเขียวได้
4. เด็กบอกสาเหตุของการลดลงของต้นไม้ได้
5. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การเล่านิทานพระราชาบนดาวสีเขียวโดยครู
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กทบทวนการระดมความคิดในเรื่องที่สนใจ
“หัวข้อที่เราสนใจคือเรื่องอะไร”
“เด็ก ๆ ต้องการเพิ่มเติมส่วนไหน อยากรู้อะไรเพิ่มเติม และเพราะอะไร”
3. ครูแนะนำหนังสือนิทานพระราชาบนดาวสีเขียว
“ เด็ก ๆสังเกตเห็นอะไรในหนังสือบ้าง”
4. เด็ก ๆทบทวนเรื่องราวของนิทานพระราชาบนดาวสีเขียว
5. เด็ก ๆแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุของการลดลงของต้นไม้
สื่อการเรียนรู้
หนังสือนิทานพระราชาบนดาวสีเขียว
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการบอกลักษณะของตัวละครนิทานพระราชาบนดาวสีเขียว
4. สังเกตการบอกสาเหตุของการลดลงของต้นไม้
5. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ พิมพ์แป้งโดด้วยกิ่งไม้แห้ง
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ พิมพ์แป้งโดด้วยกิ่งไม้แห้ง
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมอ่านคือ หนังสือนิทานพระราชาบนดาวสีเขียว
มุมศิลปะคือ พิมพ์แป้งโดด้วยกิ่งไม้แห้ง
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเล่นสนาม
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมต่อภาพต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมต่อภาพต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 2 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
4. เด็กเคลื่อนไหวเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติ (การพลิ้วไหวของกิ่งไม้)
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวเดินเขย่งปลายเท้า ตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน เคาะจังหวะ หนัก- เบา
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการแสดงท่าทางเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติ (การพลิ้วไหวของกิ่งไม้)
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ซีดีเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติ (การพลิ้วไหวของกิ่งไม้)

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กสังเกตลักษณะของต้นไม้รอบๆโรงเรียนได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การเดินสำรวจต้นไม้รอบ ๆโรงเรียน
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กและครูเดินสำรวจสังเกตลักษณะของต้นไม้ รอบ ๆโรงเรียน
“ลำต้นของต้นไม้มีลักษณะอย่างไร”
“เด็ก ๆรู้จักต้นไม้ชนิดใดบ้าง”
3. เด็ก ๆสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
“เด็ก ๆ บอกส่วนประกอบของต้นไม้ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง”
สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครูได้
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. สังเกตการบอกลักษณะของต้นไม้รอบๆโรงเรียนได้
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ การปะติดใบไม้แห้ง
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ ปะติดใบไม้แห้งลงบนกระดาษ
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมศิลปะคือ ปะติดใบไม้แห้ง และมุมเกมการศึกษาคือ เกมจับคู่ภาพต้นไม้
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเดินถอยหลังตามเส้น
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเดินถอยหลังตามเส้น
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเดินถอยหลังตามเส้น
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมส่งบอลด้วยผ้า
- เดินถอยหลังตามเส้นที่กำหนดเป็นแถว
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเดินถอยหลังตามเส้น
สื่อการเรียนรู้
-
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเดินถอยหลังตามเส้น
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเดินถอยหลังตามเส้น
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมจับคู่ภาพต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมจับคู่ภาพต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 3 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวเดินย่องรอบๆ ห้องตามการเคาะ
จังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
เคาะจังหวะ ช้า -เร็ว
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการ
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กสืบค้นข้อมูลและบอกลักษณะของเปลือกไม้ได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การนำเสนอการสืบค้นรายการอาหารที่ทำจากปลาทูน่า
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็ก ๆ สังเกตต้นไม้ที่ตนเองรู้จัก เช่น ต้นหางนกยูง ต้นเข็ม
“เปลือกของต้นไม้แต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร”
3. เด็ก ๆสังผัสล้ำนของต้นไม้ แรเงาเปลือกไม้กับกระดาษ สังเกตลักษณะของลำต้นของต้นไม้แต่ละชนิด
4. เด็ก ๆ สังเกตลักษณะของลำต้นของต้นไม้ สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
“ต้นไม้แต่ละต้นเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร”
สื่อการเรียนรู้
ต้นไม้รอบ ๆโรงเรียน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการสืบค้นข้อมูลและบอกลักษณะของเปลือกไม้
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ การปะติดเชือกด้วยกาวสี
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ การปะติดเชือกด้วยกาวสี
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการณ์ช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมศิลปะคือ การปะติดเชือกด้วยกาวสี และมุมเกมการศึกษาคือ เกมจับคู่ต้นไม้แบบวงกลม
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมจับคู่
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมจับคู่
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเกมจับคู่
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเกมจับคู่
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมจับคู่
- กางแขนหาพื้นที่ของตนเอง
- จับคู่ตามคำบอกของครู เช่น จับคู่ 2 คน จับคู่ผู้ชายกับผู้หญิง
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกมจับคู่
สื่อการเรียนรู้
-
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกมจับคู่
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมจับคู่
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมจับคู่ต้นไม้แบบวงกลม
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมจับคู่ต้นไม้แบบวงกลม
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 4 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวร่างกายเดินไขว้เท้าไปรอบ ๆ ห้องตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการ
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกลักษณะของต้นไม้ในกระถางได้
4. เด็กบอกขั้นตอนในการปลูกต้นไม้ได้
5. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาลักษณะของต้นไม้กระถางและขั้นตอนการปลูกต้นไม้
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็ก ๆสังเกตต้นไม้ที่อยู่ในกระถาง
“ต้นไม้มีลักษณะเป็นอย่างไร”
“ เด็ก ๆคิดว่าปลูกต้นไม้ชนิดนี้อย่างไร”
3. เด็กและครูสนทนาถึงขั้นตอนของการปลูกต้นไม้
4. ครูแนะนำวิธีการปลูกต้นไม้หลากหลายรูปแบบ เช่นวิธีการปักชำลงดิน การปลูกในท่อพีวีซี
สื่อการเรียนรู้
ต้นไม้กระถาง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
1. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
2. สังเกตการบอกลักษณะของต้นไม้ในกระถาง
3. สังเกตการบอกขั้นตอนในการปลูกต้นไม้
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด กิจกรรมใหม่ คือ ใช้สีเทียนวาดต้นไม้ตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ ใช้สีเทียนวาดต้นไม้ตามจินตนาการ
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการณ์ช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมวิทยาศาสตร์คือ ต้นไม้กระถาง และมุมเกมการศึกษาคือ เกมต่อชิ้นส่วนภาพต้นไม้
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมส่งใจส่งรัก
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมส่งใจส่งรัก
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเกมส่งใจส่งรัก
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเกมส่งใจส่งรัก
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมส่งใจส่งรัก
- เด็กเข้าแถวจำนวน 2 แถว
- คนแรกมีกระดาษรูปหัวใจเจาะรูตรงกลาง
- ส่งหัวใจมอบให้เพื่อนทีละคนโดยใช้นิ้วเกี่ยวรูตรงกลางส่งเรียงไปจากคนแรกจนถึงคนสุดท้าย
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกมส่งใจส่งรัก
สื่อการเรียนรู้
1. กระดาษรูปหัวใจ
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกมส่งใจส่งรัก
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมส่งใจส่งรัก
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมต่อชิ้นส่วนภาพต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมต่อชิ้นส่วนภาพต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 5 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวจับคู่ปรบมือไม่ให้เกิดเสียง ตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการ
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กทบทวนกิจกรรมที่ทำได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การทบทวนกิจกรรมและหาหัวเรื่องที่ตนเองสนใจ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็ก ๆ ทบทวนกิจกรรมที่ได้ทำในสัปดาห์นี้
“เด็ก ๆ รู้จักต้นไม้ชนิดใดบ้าง”
“ต้นไม้แต่ละต้นมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร”
“เด็ก ๆ นำเสนอประโยชน์ของต้นไม้”
“หากโลกของเราไม่มีต้นไม้จะเป็นอย่างไร”
3. เด็ก ๆนำเสนอและระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจในครั้งต่อไป
สื่อการเรียนรู้
ต้นไม้รอบ ๆโรงเรียน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการทบทวนกิจกรรมที่ทำ
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ กลิ้งกาวสี
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ กลิ้งกาวสี
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมศิลปะคือ กาวสี และมุมเกมการศึกษาคือ เกมโยงรูปร่างต้นไม้
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเล่นสนาม
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมโยงรูปร่างต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมโยงรูปร่างต้นไม้
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

การจัดประสบการณ์หน่วย ข้าว สัปดาห์ที่ 13



ภาพที่ 1 วิทยากรอธิบายลักษณะของต้นข้าว ขั้นตอนการทำนาของชาวนาและแนะนำขั้นตอนการปลูกข้าวในกระถางให้กับเด็ก ๆ


ภาพที่ 2 เมื่อเด็ก ๆ ฟังวิทยากรอธิบายขั้นตอนการปลูกข้าวในกระถางแล้ว เด็ก ๆ ปลูกข้าวด้วยตนเอง โดยมีวิทยากรคอยให้ความช่วยเหลือ



ภาพที่ 3 เด็ก ๆ บันทึกการเจริญเติบโตต้นข้าวที่ตนเองปลูก



ภาพที่ 4 เด็ก ๆท่องคำคล้องจองรีรีข้าวสาร เล่นการละเล่นพื้นบ้านอย่างสนุกสนาน



ภาพที่ 5 เกมจัดหมวดหมู่ภาพข้าวกับสัญลักษณ์


ภาพที่ 6 เกมจับคู่ภาพเหมือนขนมที่ทำจากข้าวแบบเขาวงกรต

วันที่ 1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
4. เด็กเคลื่อนไหวตามคำบรรยายได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวร่างกายเดินสลับเท้าไปรอบ ๆ ห้องตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการโดยฟังคำบรรยายจากครู
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กสังเกตลักษณะของต้นข้าวได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาลักษณะของต้นข้าว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กทบทวนการระดมความคิดในเรื่องที่สนใจ
“หัวข้อที่เราสนใจคือเรื่องอะไร”
“เด็ก ๆ ต้องการเพิ่มเติมส่วนไหน อยากรู้อะไรเพิ่มเติม และเพราะอะไร”
3. เด็ก ๆสังเกตลักษณะของต้นข้าว พร้อมทั้งสนทนาซักถาม
“ต้นข้าวมีลักษณะอย่างไร”
“ต้นข้าวมีลักษณะคล้ายกับอะไร”
4. ครูชี้คำ “ต้นข้าว” ที่อยู่ตรงกระดาษเพื่อให้เด็กสังเกต
5. เด็ก ๆวาดภาพและบันทึกลักษณะของต้นข้าวที่สังเกต
สื่อการเรียนรู้
หนังสือรอบรู้ท้องทะเล
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการบอกลักษณะของต้นข้าว
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ หยดสี
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ หยดสี
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมวิทยาศาสตร์คือ ต้นข้าว
มุมศิลปะคือ หยดสี และมุมเกมการศึกษาคือ เกมต่อภาพข้าว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้


กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเครื่องเล่นสนาม
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเครื่องเล่นสนาม
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเล่นสนาม
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมต่อภาพข้าว
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมต่อภาพข้าว
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 2 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
4. เด็กเคลื่อนไหวตามคำบรรยายได้

เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย

กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวเดินซิกแซกไปข้างหน้า ตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน เคาะจังหวะ หนัก- เบา
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการตามคำบรรยาย เช่น ชาวนาตื่นแต่เช้า ออกเดินทางไปทุ่งนา ชาวนาก้มลงช่วยกันปลูกข้าวลงในทุ่งนาอันเขียวชอุ่ม มีเสียงนกร้อง ฯลฯ
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ซีดีเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางกรว่ายน้ำของปลา

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกขั้นตอนของการปลูกข้าวได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาขั้นตอนของการปลูกข้าว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำภาพขั้นตอนของการปลูกข้าว
“เด็ก ๆสังเกตเห็นอะไรในภาพ”
“ชาวนามีวิธีการปลูกข้าวอย่างไร”
3. เด็ก ๆ เสนอความคิดเห็นของตนเอง
4. เด็ก ๆนำเสนอการเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกข้าวที่โรงเรียน
สื่อการเรียนรู้
1. ปลาทูน่ากระป๋อง
2. แผ่นวางแผนการประกอบอาหาร
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการบอกบอกขั้นตอนของการปลูกข้าว
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ ปั้นแป้งโดกับเมล็ดข้าวเปลือก
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ นำเมล็ดพืชติดลงบนกระดาษ
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมอ่านคือ ภาพกับคำขั้นตอนการทำนา
มุมศิลปะคือ เมล็ดข้าวเปลือก และมุมเกมการศึกษาคือ เกมจับคู่ภาพต้นข้าวแบบโยงเชือก
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นรีรีข้าวสาร
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเล่นรีรีข้าวสาร
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเล่นรีรีข้าวสาร
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นรีรีข้าวสาร
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเล่นรีรีข้าวสาร
- ครูท่องคำคล้องจอง รีรีข้าวสาร 2 รอบ
- ตัวแทน 2 คน จับมือเป็นซุ้มให้เพื่อนเดินลอด
- เมื่อท่องคำคล้องจองจบ จับตัวคนที่อยู่ตรงกลางเอาไว้
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นรีรีข้าวสาร
สื่อการเรียนรู้
-
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นรีรีข้าวสาร
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นรีรีข้าวสาร
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมจับคู่ภาพต้นข้าวแบบโยงเชือก
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมจับคู่ภาพต้นข้าวแบบโยงเชือก
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 3 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
4. เด็กเคลื่อนไหวเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวเดินรอบๆ ห้องตามการเคาะ
จังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
เคาะจังหวะ ช้า -เร็ว
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการเลียนแบบลักษณะของต้นข้าว เช่น ต้นข้าวพลิ้วไหว ฝนตกหนักต้นข้าวล้มกระจาย
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
4. สังเกตการเคลื่อนไหวเลียนแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติ

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กบอกลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำนาได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำนาของชาวนา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. ครูทบทวนการนำเสนอความคิดเห็นของเด็กเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกข้าว
3. ครูนำเสนอภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำนาของชาวนา
4. เด็กสังเกตภาพแล้วเสนอความคิดเห็น
“อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำนามีอะไรบ้าง”
“อุปกรณ์แต่ละชนิดเด็ก ๆ คิดว่ามีวิธีการใช้อย่างไร”
5. ครูยกตัวอย่างเมล็ดข้าวที่ชาวนำมาปลูกข้าว
6. เด็ก ๆ สังเกตลักษณะของเมล็ดข้าวเปลือกที่ใช้ในการทำนา
สื่อการเรียนรู้
1. ภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำนา
2. เมล็ดข้าวเปลือก
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการบอกลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำนา
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด กิจกรรมใหม่ คือ แรเงาเมล็ดข้าวเปลือกด้วยสีเทียน
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ แรเงาเมล็ดข้าวเปลือกด้วยสีเทียน
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมอ่าน คือ ภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำนากับคำ
มุมศิลปะคือ แรเงาเมล็ดข้าวเปลือกด้วยสีเทียน และมุมเกมการศึกษาคือ เกมจัดหมวดหมู่ข้าวกับคำ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมค้นหาคำ
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมค้นหาคำ
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเกมค้นหาคำ
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเกมค้นหาคำ
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมค้นหาคำ
- ครูแนะนำบัตรคำ ได้แก่ ข้าวสาร ข้าวเปลือก
- เด็ก ๆ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มหาบัตรคำ 1 ชุด
- เด็ก ๆ ค้นหาคำชุดของตนเองให้พบ เช่น กลุ่มที่ 1 หาคำว่าข้าวสาร กลุ่มที่ หาคำว่าข้าวเปลือก
- เด็ก ๆ วิ่งออกมาหาคำแล้วหย่อนบัตรคำลงตะกร้าจนครบทุกคน
4. เด็กเล่นเครื่องเล่นเกมค้นหาคำ
5. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกมค้นหาคำ
สื่อการเรียนรู้
บัตรคำ
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกมค้นหาคำ
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมค้นหาคำ
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมจัดหมวดหมู่ข้าวกับคำ
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมจัดหมวดหมู่ข้าวกับคำ
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้


วันที่ 4 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวร่างกายเดินหมุนตัวไปรอบ ๆ ห้องตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการเลียนแบบท่าทางการใช้อุปกรณ์ของชาวนา
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กวางแผนในการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาวางแผนเชิญวิทยากร
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็ก และครูร่วมกันวางแผนเชิญวิทยาการมาให้ความรู้เรื่องข้าว
“เด็ก ๆคิดว่าเราจะหาวิทยากรได้จากที่ไหน”
“ใครจะมาเป็นวิทยากร”
“เด็ก ๆ รู้จักใครที่ปลูกข้าวและเป็นชาวนาบ้าง”
“อุปกรณ์ที่ควรนำมาใช้ในการปลูกข้าวมีอะไรบ้าง”
“การปฏิบัติตนของเด็ก ๆ เมื่อวิทยากรมาให้ความรู้”
3. เด็ก ๆ ร่วมกันเสนอความคิดเห็นของตนเองในการวางแผน
สื่อการเรียนรู้
แผนวางแผน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
1. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
2. สังเกตการวางแผนในการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้
3. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด กิจกรรมใหม่ คือ ปะติดเมล็ดข้าวเปลือก กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือ ระบายสีด้วยหมึกจีน
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมศิลปะคือ ปะติดเมล็ดข้าวเปลือก และมุมเกมการศึกษาคือ เกมจับคู่ภาพต้นข้าวแบบวงกลม
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
3. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
- เด็กเข้าแถวเป็น 2 กลุ่ม
- วิ่งผลัดเปลี่ยนกันเกมกรอกข้าวใส่ถังให้เต็ม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
สื่อการเรียนรู้
1. แก้วน้ำขนาดเล็ก
2. ข้าว
3. ถังใบเล็ก
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นเกมกรอกข้าวใส่ถัง
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมจับคู่ภาพต้นข้าวแบบวงกลม
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมจับคู่ภาพต้นข้าวแบบวงกลม
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้

วันที่ 5 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ได้
2. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3. เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการได้
เนื้อหา
การฟังและการปฏิบัติตามสัญญาณ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐานโดยเคลื่อนไหวหมุนตัวอยู่กับที่ ตามการเคาะจังหวะ โดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวทันที
4. ครูให้สัญญาณหยุดโดยการรัวเครื่องเคาะจังหวะ
5. เด็ก ๆ เคลื่อนไหวตามจินตนาการแสดงสีหน้าท่าทาง เช่นชาวนารู้สึกร้อน
สื่อการเรียนรู้
เครื่องเคาะจังหวะ
ประเมินผล
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ
2. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3. สังเกตการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและตอบคำถามครูได้
2. เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนและครูได้
3. เด็กปลูกข้าวตามขั้นตอนตามที่วิทยากรบอกได้
4. เด็กเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นได้
เนื้อหา
การสนทนาลักษณะภายนอกของปลา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กและครูทบทวนแผ่นวางแผนร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เด็ก ๆ ปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อวิทยากรมาให้ความรู้”
“อุปกรณ์ต่าง ๆที่ใช้ในการปลูกข้าว”
3. ครูแนะนำวิทยาการที่มาให้ความรู้กับเด็ก ๆ
4. วิทยากรแนะนำตัวเองอีกครั้ง และให้ความรู้เรื่องข้าวกับเด็ก ๆ รวมทั้งขั้นตอนในการ
ปลูกข้าวลงในกระถาง มีขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมดินลงกระถาง
2. คัดเมล็ดข้าวเปลือกเพื่อนำมาหยอดลงกระถาง
3. ใช้นิ้วมือกดดินเพื่อหยอดเมล็ดข้าวเปลือกลงไป
4. กลบดินบริเวณ หลุมที่หยอดเมล็ดข้าว แล้วรดน้ำให้ชุ่ม
5. เด็ก ๆปลูกข้าวตามที่วิทยากรอธิบาย
6. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายหลังจากทำกิจกรรม
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการปลูกข้าว ได้แก่ กระถาง ดิน ถุงมือ เมล็ดข้าวเปลือก
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและตอบคำถามครู
2. สังเกตการสนทนาร่วมกับเพื่อนและครู
3. สังเกตการปลูกข้าวตามขั้นตอนตามที่วิทยากรบอก
4. สังเกตการเสนอและฟังความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจได้
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่ได้

เนื้อหา
กิจกรรมศิลปะได้แก่ 1. กิจกรรมสีน้ำ 2.กิจกรรมสีเทียน 3. กิจกรรมฉีกปะ 4.กิจกรรมปั้นแป้งโด 5. กิจกรรมร้อยลูกปัด
กิจกรรมใหม่ คือ ระบายสีด้วยดินเหนียว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“เก็บของเล่นเข้าที่”
“ทำความสะอาดอุปกรณ์”
2. ครูแนะนำอุปกรณ์ใหม่และวิธีการใช้คือระบายสีด้วยดินเหนียว
3. เด็ก เลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ
4. เด็กเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟัง
5. เด็กช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมศิลปะ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ
4. สังเกตการเล่าผลงานให้เพื่อนและครูฟังตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
5. สังเกตการช่วยกันทำความสะอาดอุปกรณ์และเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. เด็กเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. เด็กสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ที่มีอุปกรณ์ใหม่ได้แก่ มุมวิทยาศาสตร์ คือเมล็ดข้าวเปลือก
มุมศิลปะคือ ดินเหนียว และมุมเกมการศึกษาคือ เกมโยงภาพทุ่งนา
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“ เก็บของเล่นเข้าที่หลังได้ยินสัญญาณเปลี่ยนมุม ”
“ ไม่ส่งเสียงดัง ”
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กเลือกเข้ามุมประสบการณ์ตามความสนใจ
4. เด็กทำกิจกรรมในมุมเสรี
5. ครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กเปลี่ยนมุม
6. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในมุมประสบการณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและทำกิจกรรมในมุมประสบการณ์ใหม่ได้
2. สังเกตการเลือกเข้ามุมตามความสนใจ
3. สังเกตการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการสังเกตสำรวจได้
4. สังเกตการสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนได้
5. สังเกตการเด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ได้

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กบอกข้อตกลงในการเล่นห้องนิ่ม
2. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นห้องนิ่ม
3. เด็กเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. เด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
เนื้อหา
การเล่นห้องนิ่ม
กิจกรรม
1. เด็กและครูทบทวนข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
2. เด็กเตรียมอบอุ่นร่างกายก่อนเล่นห้องนิ่ม
3. เด็ก ๆเล่นห้องนิ่ม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายหลังจากเล่นห้องนิ่ม
สื่อการเรียนรู้
อุปกรณ์ในการเล่นห้องนิ่ม
ประเมินผล
1. สังเกตการบอกข้อตกลงในการเล่นห้องนิ่ม
2. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเล่นห้องนิ่ม
3. สังเกตการเรียนรู้การระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้
4. สังเกตการตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. เด็กสังเกตและจำแนกได้
4. เด็กเอื้อเฟื้อและรอคอยได้
เนื้อหา
เกมโยงภาพทุ่งนา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
กิจกรรม
1. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันก่อนทำกิจกรรม
“การเก็บของเข้าที่”
“ดูแลรักษาสิ่งของ ไม่ทำลายข้าวของ”
2. ครูแนะนำและสาธิตวิธีการเล่นเกมการศึกษา
3. เด็กแต่ละกลุ่มเล่นเกมการศึกษา
4. เด็กผลัดเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้องของเกมการศึกษาที่เล่น
5. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่
สื่อการเรียนรู้
เกมโยงภาพทุ่งนา
เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
ประเมินผล
1. สังเกตการตั้งใจฟังคำแนะนำการเล่นเกม
2. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้
3. สังเกตการสังเกตและจำแนกได้
4. สังเกตการเอื้อเฟื้อและรอคอยได้